| ความหมายของภูมิปัญญา
ภูมิปัญญา (Wisdom) หมายถึง พื้นความรู้ ความคิด ความเชื่อ ความสามารถทางพฤติกรรม ความเจนจัดและและประสบการณ์ด้านต่างๆ ที่คนเราสั่งสมและสืบทอดกันมาตั้งแต่อดีด เป็นความสามารถในการแก้ไขปัญหาของมนุษย์ที่อยู่อาศัยได้บนโลกใบนี้ ภูมิปัญญา เป็นเรื่องที่สั่งสมกันมาตั้งแต่อดีตและเป็นเรื่องของการจัดการความสัมพันธ์ระหว่างคนกับคน คนกับธรรมชาติ คนกับสิ่งเหนือธรรมชาติโดยผ่านกระบวนการทางจารีตประเพณี วิถีชีวิต การทำมาหากินและพิธีกรรมต่าง ๆ เพื่อให้เกิดความสมดุลระหว่างความสัมพันธ์เหล่านี้ |
| ปริศนาคำทาย ปริศนา ภูมิปัญญาทางภาษา
ปริศนาคำทาย ปริศนา ภูมิปัญญาทางภาษา ศึกษา เรียนรู้ เข้าใจ ความหมาย ที่มา ประเภท ร่วมกันวิเคราะห์ภูมิปัญญาทางภาษาที่ปรากฎในปริศนาและคุณค่าทางสังคมที่สะท้อนจากเนื้อหา |
| บทเพลงสำหรับเด็ก บทกล่อมเด็ก บทปรอบเด็ก และบทร้องประกอบการละเล่นของเด็ก
บทเพลงสำหรับเด็ก บทกล่อมเด็ก บทปรอบเด็ก และบทร้องประกอบการละเล่นของเด็ก |
| สำนวน สุภาษิต คำพังเพย พร้อมความหมาย
สำนวน สุภาษิต คำพังเพย พร้อมความหมาย เรื่องน่ารู้ สำนวน สุภาษิต คำพังเพย ที่มีใช้กันมาอย่างยาวนาน ซึ่ง สำนวนไทย สุภาษิตไทยและคำพังเพยนั้น เกิดจากพฤติกรรมการใช้ชีวิตประจำวันของผู้คนที่ทำให้เกิดเหตุการณ์ต่างๆ ขึ้น ทั้งทางดีและทางร้าย จนมีการนำสิ่งที่เกิดขึ้นมาเรียบเรียงถ้อยคำใหม่ในเชิงสั่งสอนหรือเปรียบเทียบ นับเป็นอีกหนึ่งในวัฒนธรรมที่น่าภาคภูมิใจของไทย |
| ภูมิปัญญาทางภาษาไทย
ภูมิปัญญาทางภาษาไทย จึงหมายถึงความรู้ ความสามารถ ความชาญฉลาดในการแก้ปัญหา หรือสร้างสรรค์ผลงานทางด้านภาษาไทย ภูมิปัญญาทางภาษาไทยที่เด่น ๆ มีทั้งหมด ๘ ข้อ |
| การละเล่นดั้งเดิมของเด็กไทย
การเล่นกับเด็กเป็นของคู่กันมาตั้งแต่กาลครั้งไหน คงไม่มีใครทราบได้ แต่การเล่นก็เป็นเรื่องที่สืบเนื่องแสดงถึงเอกลักษณ์ของชนชาติหรือท้องถิ่นเป็นเรื่องที่ถ่ายทอดเข้าสู่กระแสชีวิตและตกทอดกันมาตั้งแต่ รุ่นปู่ย่าตายายของปู่ย่าตายายโน่น เอาตั้งแต่เมื่อเราเกิดมาลืมตาดูโลกก็คงจะได้เห็นปลาตะเพียนที่ผู้ใหญ่แขวน ไว้เหนือเปลให้เด็กดู “เล่น” เป็นการบริหารลูกตา แหวกว่ายอยู่ในอากาศแล้ว พอโตขึ้นมาสัก 3-4 เดือน ผู้ใหญ่ก็จะสอนให้เล่น “จับปูดำ ขยำปูนา” “แกว่งแขนอ่อน เดินไว ๆ ลูกร้องไห้ วิ่งไปวิ่งมา” โดยที่จะคิดถึงจุดประสงค์อื่นใดหรือไม่สุดรู้ แต่ผลที่ตามมานั้นเป็นการหัดให้เด็กใช้กล้ามเนื้อมือ กล้ามเนื้อแขนประสานกับสายตา |
| หุ่นกระบอกไทย รอเวลาจางหาย
บทความ หุ่นกระบอกไทย รอเวลาจางหาย สุรินทร์ ยิ่งนึก ค้นคว้า รวบรวม เมื่อ ปี 2540 |
| หุ่นกระบอก ของเล่นพื้นบ้านสู่งานออกพระเมรุ
“นายเหน่ง คนขี้ยา อาศัยวัด อยู่เมืองสุโขทัย จำหุ่นไหหลำมาดัดแปลงเป็นหุ่นไทย และออกเชิดร้องเล่นหากิน จนต่อมา ม.ร.ว.เถาะ พยัคฆเสนา ผู้เคยได้ตามเสด็จกรมพระยาดำรงฯไปเห็นหุ่นกระบอกที่เมืองอุตรดิตถ์ จึงได้กลับมาสร้างหุ่น และตั้งคณะหุ่นกระบอกขึ้นเป็นคณะแรกในบางกอกเมื่อ พ.ศ.2436 ซึ่งตรงกับรัชสมัยสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว”
|
| สงกรานต์ไทย ทำไมต้องพยากรณ์
เสียงเพลง “ฟ้าใหม่แล้วละนะน้อง สงกรานต์เราร้องทำนองเพลงโทน โน่นไงจ๊ะ โทนป๊ะโทนๆ ทั้งโยกทั้งโยนเย้ายวนยั่วใจ วันตรุษหยุดการหยุดงาน สังคมชาวบ้านสิคร้านครึกครื้น เริงสงกรานต์กัน พอขวัญชื้นๆ ฉลองวันคืนจนครื้นเครงคลาน” แว่วดังก้องกระหึ่มทุกหนแห่งทั่วแดนไทย
เป็นบทเพลงสุนทราภรณ์รำวงเริงสงกรานต์ ซึ่งผสมผสานเสียงดนตรีเสียงปี่เสียงกลองในทำนองเพลงโทนหรือเพลงรำวง อันแฝงด้วยมนต์เพลงบรรยากาศไทยๆ จากนักร้องรุ่นเก่าของวงสุนทราภรณ์ที่แม้จะล่วงลับไปเกือบหมดแล้ว ได้ทำให้บรรยากาศความเป็นไทยและของสังคมไทยฟื้นคืนมาอีกครั้งหนึ่ง
|
| วันสงกรานต์ ประเพณีสงกรานต์ สงกรานต์
|
| ประเพณีไทย
ประเพณี คือ ความประพฤติที่ชนหมู่หนึ่งอยู่ในที่แห่งหนึ่งถือเป็นแบบแผนกันมาอย่างเดียวกัน และสืบต่อกันมานาน ถ้าใครในหมู่ประพฤติออกนอกแบบก็ผิดประเพณี หรือผิดจารีตประเพณี |